การควบคุมการระบายของไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 แนวทางหนึ่งคือ การกำหนดให้ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศทุกคน ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง แยกกัน หรือ กักกัน เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค เป็นเวลา 14 วัน ซึ่งระหว่างนั้นก็จะมีการตรวจเชื้อ หากพบก็จะนำเข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป
แต่หลายคนสงสัยว่า สถานที่กักตัวโรคระหว่าง State quarantine และ Alternative state quarantine แตกต่างกันอย่างไร ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค ระบุถึงสถานที่กักตัวว่า State quarantine รัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ ซึ่งคนไทยที่กลับจากต่างประเทศก็จะไปพักเพื่อเฝ้าระวังอาการ 14 วันแต่กรณี Alternative state quarantine จะเป็นคนต่างชาติ หรือคนไทยบางกลุ่มที่เข้ามา และพร้อมชำระค่าที่พักเอง โดยใช้สถานประกอบการธุรกิจโรงแรม
ข้อกำหนดสถานที่จะเข้าร่วม
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทยทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ และไม่มีอาการที่เข้าเกณฑ์สอบสวน โรคโควิด-19 (Patient under investigation)
ลักษณะของที่พัก
ข้อปฏิบัติของผู้เข้าพัก
ขั้นตอนการได้รับการรับรองโดยรัฐ
กระบวนการตัดสินใจ
ลักษณะของ Alternative State Quarantine ต้องมีองค์ประกอบหลัก 6 หมวด ดังนี้
หมวด 1 โครงสร้างอาคารวิศวกรรมความปลอดภัยและระบบสื่อสารสารสนเทศ
1.1) โครงสร้างสมบูรณ์ ไม่แตกร้าว มีสภาพอาคารพร้อมใช้งาน
1.2) ระบบความปลอดภัยในอาคารพร้อมใช้งาน เช่น ระบบดับเพลิง ทางหนีไฟ
1.3) ห้องพักผู้ป่วยต้องเป็นห้องปรับอากาศแยกส่วนหรือไม่เป็นระบบท่อส่งลมเย็นร่วม
1.4) ท่อระบายน้ำทิ้ง และสุขาภิบาลต้องไม่รั่วซึม
1.5) ระบบโทรศัพท์สื่อสาร และ CCTV
1.6) ระบบสื่อสารทางไกลทางการแพทย์ Telemedicine เพื่อการบันทึกอุณหภูมิร่างกาย
และสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์
1.7) ห้องปฏิบัติการสื่อสารระหว่างโรงแรมและรัฐ
หมวด 2 บุคลากร (ต้องได้รับการอบรมก่อนปฏิบัติงาน)
2.1) เจ้าหน้าที่รับลงทะเบียนผู้ป่วย/เจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์
2.2) เจ้าหน้าที่ส่งอาหาร
2.3) เจ้าหน้าที่ทำความสะอาด
2.4) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
2.5) เจ้าหน้าที่เก็บขยะ
2.6) ช่างไฟฟ้า
2.7) ช่างประปา
2.8) Covid-19-Manager
2.9) เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและเจ้าหน้าที่ทางโรงแรม ต้องได้รับการคัดกรองก่อนเข้าปฏิบัติงาน
และสวมชุดป้องกัน รวมถึงท าความสะอาดร่างกายหลังปฏิบัติงาน ดังนี้
2.9.1) ตรวจวัดไข้
2.9.2) สวมหน้ากากอนามัย Surgical Mask
2.9.3) สวม Face Shield
2.9.4) สวมชุดป้องกัน (เฉพาะบุคคลที่มีความเสี่ยง)
2.9.5) การทำความสะอาดรองเท้าก่อน/หลังปฏิบัติงาน
2.9.6) การทำความสะอาดร่างกายภายก่อน/หลังปฏิบัติงาน
หมวด 3 วัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน และอื่นๆ
ก. วัสดุ อุปกรณ์ประจำสำนักงาน (สำหรับเจ้าหน้าที่)
(1) คอมพิวเตอร์ หรือ Notebook
(2) เครื่องสแกนเอกสาร/ปริ้นเตอร์
(3) โทรศัพท์สำนักงาน
(4) สมุดทะเบียนผู้เข้าพัก
ข. วัสดุ อุปกรณ์ประจำห้องพัก
(1) ไฟฉาย
(2) ถุงขยะติดเชื้อ
(3) กระดาษชำระ
(4) Free Wi-Fi ทุกห้องผู้เข้าพัก
(5) รถเข็นขนย้ายสิ่งของผู้เข้าพัก
(6) กาต้มน้ำร้อน
(7) ผ้าเช็ดตัว และผ้าเช็ดผม
(8) ชุดผ้าปูที่นอน
(9) น้ำดื่ม
(10) อุปกรณ์เครื่องเขียน/สมุดบันทึก
(11) หน้ากาก Surgical Mask
(12) รองเท้าใส่นอกห้องพัก
(13) รองเท้าใส่ภายในห้อง (Slippers)
(14) จัดทำคู่มือแนวการปฏิบัติของผู้เข้าพักในโรงแรม
หมวด 4 ยาเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ก. เวชภัณฑ์สำหรับเจ้าหน้าที่
(1) แอลกอฮอล์เจล แบบขวดปั้ม/แบบพกพา
(2) หมวกคลุมผม
(3) ชุดป้องกัน (PPE) เช่น Gown กันน้ า
(4) Face shield
(5) ถุงมือยางทางการแพทย์แบบใช้แล้วทิ้ง
(6) รองเท้าบูท
(7) ถุงแดงใส่ขยะติดเชื้อ
ข. เวชภัณฑ์ประจ าห้องพัก
(1) แอลกอฮอล์เจล แบบขวดปั้ม
(2) ปรอทวัดไข้(Digital)
ค. ยาและเครื่องมือแพทย์
(1) ยาสามัญประจ าบ้าน
(2) อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
(3) เครื่องวัดความดัน
หมวด 5 การจัดการสิ่งแวดล้อม และเป็นมิตรกับชุมชน
5.1) มีระบบการจัดการขยะติดเชื้อ
5.2) มีระบบการบ าบัดน้ าเสียที่ได้มาตรฐาน
5.3) มีแนวทางสร้างความเข้าใจและการยอมรับจากชุมชนโดยรอบ
หมวด 6 โรงพยาบาลคู่สัญญาปฏิบัติการร่วมและความสะดวกสบายเพิ่มเติม
6.1) โรงพยาบาลคู่สัญญาปฏิบัติการร่วม (Cooperate Hospital) เอกสารบันทึกข้อตกลงระหว่าง
สถานประกอบการธุรกิจโรงแรมกับโรงพยาบาล6.2) บริการท าความสะอาดห้องพักทุกวัน
6.3) สามารถเลือกเมนูอาหารตามต้องการ (Menu room service)
6.4) บริการภาชนะชุดอุปกรณ์ส าหรับใส่อาหาร และมีกระบวนการท าความสะอาดที่มีมาตรฐาน
ด้วยความร้อน
6.5) บริการระบบการซักรีดฆ่าเชื้อด้วยความร้อนตามมาตรฐาน
6.6) สร้างความหลากหลายในการเข้าถึงความบันเทิง
6.7) สามารถออกจากห้องพักมาใช้พื้นที่ที่โรงแรมก าหนดโดยเว้นระยะห่าง ภายหลังจากการทดสอบ
เชื้อว่าเป็นผลลบ
หากผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมสนใจเข้าร่วมสามารถสมัครเพื่อขอรับการประเมินได้ที่ ศูนย์ปฎิษัติการฉุกเฉินโควิด-19
ขอบคุณข้อมูล : ศูนย์ปฎิษัติการฉุกเฉินโควิด-19
การควบคุมการระบายของไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 แนวทางหนึ่งคือ การกำหนดให้ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศทุกคน ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง แยกกัน หรือ กักกัน เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค เป็นเวลา 14 วัน ซึ่งระหว่างนั้นก็จะมีการตรวจเชื้อ หากพบก็จะนำเข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป
แต่หลายคนสงสัยว่า สถานที่กักตัวโรคระหว่าง State quarantine และ Alternative state quarantine แตกต่างกันอย่างไร ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค ระบุถึงสถานที่กักตัวว่า State quarantine รัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ ซึ่งคนไทยที่กลับจากต่างประเทศก็จะไปพักเพื่อเฝ้าระวังอาการ 14 วันแต่กรณี Alternative state quarantine จะเป็นคนต่างชาติ หรือคนไทยบางกลุ่มที่เข้ามา และพร้อมชำระค่าที่พักเอง โดยใช้สถานประกอบการธุรกิจโรงแรม
ข้อกำหนดสถานที่จะเข้าร่วม
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทยทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ และไม่มีอาการที่เข้าเกณฑ์สอบสวน โรคโควิด-19 (Patient under investigation)
ลักษณะของที่พัก
ข้อปฏิบัติของผู้เข้าพัก
ขั้นตอนการได้รับการรับรองโดยรัฐ
กระบวนการตัดสินใจ
ลักษณะของ Alternative State Quarantine ต้องมีองค์ประกอบหลัก 6 หมวด ดังนี้
หมวด 1 โครงสร้างอาคารวิศวกรรมความปลอดภัยและระบบสื่อสารสารสนเทศ
1.1) โครงสร้างสมบูรณ์ ไม่แตกร้าว มีสภาพอาคารพร้อมใช้งาน
1.2) ระบบความปลอดภัยในอาคารพร้อมใช้งาน เช่น ระบบดับเพลิง ทางหนีไฟ
1.3) ห้องพักผู้ป่วยต้องเป็นห้องปรับอากาศแยกส่วนหรือไม่เป็นระบบท่อส่งลมเย็นร่วม
1.4) ท่อระบายน้ำทิ้ง และสุขาภิบาลต้องไม่รั่วซึม
1.5) ระบบโทรศัพท์สื่อสาร และ CCTV
1.6) ระบบสื่อสารทางไกลทางการแพทย์ Telemedicine เพื่อการบันทึกอุณหภูมิร่างกาย
และสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์
1.7) ห้องปฏิบัติการสื่อสารระหว่างโรงแรมและรัฐ
หมวด 2 บุคลากร (ต้องได้รับการอบรมก่อนปฏิบัติงาน)
2.1) เจ้าหน้าที่รับลงทะเบียนผู้ป่วย/เจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์
2.2) เจ้าหน้าที่ส่งอาหาร
2.3) เจ้าหน้าที่ทำความสะอาด
2.4) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
2.5) เจ้าหน้าที่เก็บขยะ
2.6) ช่างไฟฟ้า
2.7) ช่างประปา
2.8) Covid-19-Manager
2.9) เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและเจ้าหน้าที่ทางโรงแรม ต้องได้รับการคัดกรองก่อนเข้าปฏิบัติงาน
และสวมชุดป้องกัน รวมถึงท าความสะอาดร่างกายหลังปฏิบัติงาน ดังนี้
2.9.1) ตรวจวัดไข้
2.9.2) สวมหน้ากากอนามัย Surgical Mask
2.9.3) สวม Face Shield
2.9.4) สวมชุดป้องกัน (เฉพาะบุคคลที่มีความเสี่ยง)
2.9.5) การทำความสะอาดรองเท้าก่อน/หลังปฏิบัติงาน
2.9.6) การทำความสะอาดร่างกายภายก่อน/หลังปฏิบัติงาน
หมวด 3 วัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน และอื่นๆ
ก. วัสดุ อุปกรณ์ประจำสำนักงาน (สำหรับเจ้าหน้าที่)
(1) คอมพิวเตอร์ หรือ Notebook
(2) เครื่องสแกนเอกสาร/ปริ้นเตอร์
(3) โทรศัพท์สำนักงาน
(4) สมุดทะเบียนผู้เข้าพัก
ข. วัสดุ อุปกรณ์ประจำห้องพัก
(1) ไฟฉาย
(2) ถุงขยะติดเชื้อ
(3) กระดาษชำระ
(4) Free Wi-Fi ทุกห้องผู้เข้าพัก
(5) รถเข็นขนย้ายสิ่งของผู้เข้าพัก
(6) กาต้มน้ำร้อน
(7) ผ้าเช็ดตัว และผ้าเช็ดผม
(8) ชุดผ้าปูที่นอน
(9) น้ำดื่ม
(10) อุปกรณ์เครื่องเขียน/สมุดบันทึก
(11) หน้ากาก Surgical Mask
(12) รองเท้าใส่นอกห้องพัก
(13) รองเท้าใส่ภายในห้อง (Slippers)
(14) จัดทำคู่มือแนวการปฏิบัติของผู้เข้าพักในโรงแรม
หมวด 4 ยาเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ก. เวชภัณฑ์สำหรับเจ้าหน้าที่
(1) แอลกอฮอล์เจล แบบขวดปั้ม/แบบพกพา
(2) หมวกคลุมผม
(3) ชุดป้องกัน (PPE) เช่น Gown กันน้ า
(4) Face shield
(5) ถุงมือยางทางการแพทย์แบบใช้แล้วทิ้ง
(6) รองเท้าบูท
(7) ถุงแดงใส่ขยะติดเชื้อ
ข. เวชภัณฑ์ประจ าห้องพัก
(1) แอลกอฮอล์เจล แบบขวดปั้ม
(2) ปรอทวัดไข้(Digital)
ค. ยาและเครื่องมือแพทย์
(1) ยาสามัญประจ าบ้าน
(2) อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
(3) เครื่องวัดความดัน
หมวด 5 การจัดการสิ่งแวดล้อม และเป็นมิตรกับชุมชน
5.1) มีระบบการจัดการขยะติดเชื้อ
5.2) มีระบบการบ าบัดน้ าเสียที่ได้มาตรฐาน
5.3) มีแนวทางสร้างความเข้าใจและการยอมรับจากชุมชนโดยรอบ
หมวด 6 โรงพยาบาลคู่สัญญาปฏิบัติการร่วมและความสะดวกสบายเพิ่มเติม
6.1) โรงพยาบาลคู่สัญญาปฏิบัติการร่วม (Cooperate Hospital) เอกสารบันทึกข้อตกลงระหว่าง
สถานประกอบการธุรกิจโรงแรมกับโรงพยาบาล6.2) บริการท าความสะอาดห้องพักทุกวัน
6.3) สามารถเลือกเมนูอาหารตามต้องการ (Menu room service)
6.4) บริการภาชนะชุดอุปกรณ์ส าหรับใส่อาหาร และมีกระบวนการท าความสะอาดที่มีมาตรฐาน
ด้วยความร้อน
6.5) บริการระบบการซักรีดฆ่าเชื้อด้วยความร้อนตามมาตรฐาน
6.6) สร้างความหลากหลายในการเข้าถึงความบันเทิง
6.7) สามารถออกจากห้องพักมาใช้พื้นที่ที่โรงแรมก าหนดโดยเว้นระยะห่าง ภายหลังจากการทดสอบ
เชื้อว่าเป็นผลลบ
หากผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมสนใจเข้าร่วมสามารถสมัครเพื่อขอรับการประเมินได้ที่ ศูนย์ปฎิษัติการฉุกเฉินโควิด-19
ขอบคุณข้อมูล : ศูนย์ปฎิษัติการฉุกเฉินโควิด-19